June 25, 2009

Richard Meier on Wallpaper Magazine

Wallpaper magazine มี slide show งานของ Richard Meier ที่น่าสนใจนับแต่อดีต จำนวน 30 ภาพ จากงานสถาปัตยกรรม furniture design, product design ไปจนถึงงาน sculpture

หนึ่งในงานปฏิมากรรมของ Richard Meier


World Trade Center, Memorial Square, New York

Related articles by Zemanta:
Reblog this post [with Zemanta]

June 22, 2009

Getty Center :: Part 6 Landscape

Landscape ในโครงการ Getty Center ได้แรงบันดาลใจมาจาก สวนแบบ California ดั้งเดิม และสวนแบบ Mediterranean โบราณ Landscape ในโครงการจึงเป็นส่วนผสม ทั้งแบบ modern และแบบโบราณ สร้างสรรค์บรรยากาศ สีสัน texture และกลิ่นที่เปลี่ยนไปตามฤดูกาล ให้กับผู้มาเยี่ยมชม

ใน ส่วนทางเข้า และสถานีรถรางด้านล่าง มีการปลูกต้น sycamore ที่ทางเข้าเพื่อให้ผู้เข้าชมได้นึกถึง Getty Villa ใน มาลิบู ที่ปลูกต้น sycamore ในลักษณะเดียวกัน เมื่อมองจากรถราง จะสามารถเห็นต้นโอ๊ค 8500 ต้นที่ปลูกเรียงรายตามเนินเขา พร้อมทั้งไม้ และวัชพืชท้องถิ่น ทั้งนี้เพื่อป้องกันการเซาะดิน ป้องกันไฟ และเพื่อเป็นการคงสภาพแวดล้อมธรรมชาติไว้


Landscape Architects:

Emmet Wemple
Laurie Olin, Olin Partnership เข้าร่วมงาน ปี 1992

Consultant:
Daniel Urban Kiley เข้าร่วมงาน ปี 1990

Plant selection, Procurement, and Administration:
Fong and Associates
Raymond Hansen






Ref:
http://www.getty.edu/news/press/arch/land.html


View ArchCore Architecture Map in a larger map

Getty Center :: Richard Meier :: Part 1

Getty Center :: Richard Meier :: Part 2

Getty Center :: Richard Meier :: Part 3 The Architect

Getty Center :: Richard Meier :: Part 4 Architecture

Getty Center :: Richard Meier :: Part 5 Underconstuction

Getty Center :: Part 6 Landscape

Getty Center :: Richard Meier :: Part 5 Underconstruction



โครงสร้างเหล็ก และ metal deck


Tram และนั่งร้าน


Construction Management: Karsten/Hutman Margolf
General Contractor: Hathaway Dinwiddie Construction Company
Contractor: Fletcher Construction

Photo credit
http://dadada.com/smphoto/gettysite/gettysite.html

Getty Center :: Richard Meier :: Part 1

Getty Center :: Richard Meier :: Part 2

Getty Center :: Richard Meier :: Part 3 The Architect

Getty Center :: Richard Meier :: Part 4 Architecture

Getty Center :: Richard Meier :: Part 5 Underconstuction

Getty Center :: Part 6 Landscape

June 21, 2009

Getty Center :: Richard Meier :: Part 4 Architecture



Getty Center : Architecture


Richard Meier ใช้แนวสันเขาธรรมชาติ สองแนว ที่ทำมุมต่อกัน 22.5 องศา มาเป็นแกนของสถาปัตยกรรม และวาง grid ของอาคาร บนแกนหนึ่ง(สีส้ม) เป็นพื้นที่แสดงงาน และอีกแกนหนึ่ง เป็นอาคารบริการ และสำนักงาน grid โครงสร้างหลักคือ 30" หรือ 7.60x7.60 ม. (อเมริกา ยังใช้ระบบอังกฤษ คือนิ้ว ฟุท เป็นหลัก และมีความพยายามเปลี่ยนเป็นระบบเมตตริก โดยเริ่มจากงานราชการ) รวมไปถึงระบบผนัง และระบบพื้นส่วนมากด้วย

อาคารของโครงการเป็นคอนกรีต และเหล็ก และ clad ด้วยหิน travertine หรืออลูมิเนี่ยม


ตลอดโครงการ จะมีน้ำพุ น้ำตก หลายตำแหน่ง เพื่อให้เกิดเสียง (white noise) เป็น background แม้ภายหลังจะมีการต่อเติมที่นั่ง หรือรั้วกั้น เพื่อกันไม่ให้ผู้มาเยี่ยมชม เข้าไปเล่นในบ่อน้ำ และมีการแก้ไขหลายจุดเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายเพื่อบุคคลพิการ

โครงการมีที่จอดรถใต้ดิน ขนาด 1200 คัน ลึก 7 ชั้น พร้อม รถราง (tram) ส่งผู้เยี่ยมชมขึ้น ลง จากโครงการ

คลิก เพื่อชมภาพ panorama ทางทิศใต้เมื่อมองจากโครงการ

กลุ่มอาคารสูงกลุ่มใกล้คือย่าน Westwood กลุ่มไกลคือ downtown LA

ถอดความจาก Wikipedia

Getty Center :: Richard Meier :: Part 1

Getty Center :: Richard Meier :: Part 2

Getty Center :: Richard Meier :: Part 3 The Architect

Getty Center :: Richard Meier :: Part 4 Architecture

Getty Center :: Richard Meier :: Part 5 Underconstuction

Getty Center :: Part 6 Landscape

June 20, 2009

Getty Center :: Richard Meier :: Part 3 The Architect

รู้จัก สถาปนิก :: Richard Meier


Richard Alan Meier เกิด October 12, 1934 ที่ Newark, New Jersey, USA

Meier เริ่มทำงานวิชาชีพสถาปัตยกรรมตั้งแต่ปี 1961 ในอเมริกา อิตาลี อังกฤษ เยอรมัน เนเธอร์แลนด์ สเปน สก็อทแลนด์ ลักเซมเบิร์ก สวิสเซอแลนด์ และ จีน

1957 - รับปริญญาทางสถาปัตยกรรมจาก Cornell University
1963 - studies under Skidmore, Owings & Merrill and of M. Breuer; Richard Meier เปิดสำนักงานออกแบบใน New York ทำงานออกแบบ villas, homes, hospitals, museums และ commercial buildings
1964 - ทำงานสอนที่ Cooper Union ใน New York
1967-73 - ทำงานสอนที่ Yale University
1973 - เปิดงานแสดงที่ the Milan Triennial
1969 - ได้รับรางวัล National Honor Award ของ American Institute of Architects (AIA); ในปีเดียวกัน, ที่ Conference of Architects for the Study of Environment, Kenneth Frampton เสนองานของสถาปนิก 5 ท่านที่ MOMA ใน New York ได้แก่ Peter Eisenman, Michael Graves, John Hejduk, Chiarles Gwathmey และ Richard Meier; official recognition comes with the publication of the volume " Five Architects"
1980 ได้รับเหรียญ medal of honour จาก AIA
1984 - ได้รับรางวัล Pritzker Prize; จากการออกแบบ Getty Center ใน Los Angeles และ Meier เปิดสำนักงานใน California เพื่องานนี้โดยเฉพาะ และทำงานไม่หยุดจนถึงปี 1997
; รับแต่งตั้งเป็น Fellow of the Academy of Arts and Letters จากรัฐบาลฝรั่งเศส
1989 - รับเหรียญ royal gold medal โดย the Royal Institute of British Architects
1990 - fellow of the Royal Belgian Academy of the Arts
1991 - รับปริญญากิติมศักดิ์โดยมหาวิทยาลัยแห่ง Naples
1992 - รัฐบาลฝรั่งเศสมอบให้เป็น "Commander" of Arts and Letters

(...)"the work of Richard Meier distances itself from linguistic absolutism (...) in breaking down his design tools, he assigned a primary role to the system for circulation inside and outside of the structure of buildings. (...) Circulation structures, like the clarity of the organisational system, of load-bearing structures, of accesses, are to him merely materials for design, to be integrated together in a complex way (...) The complexity with which they are interwoven makes the architectonic result peremptory: invention of type lies at the base of his endeavour, which attempts full recovery of the functional dimension of language [Tafuri, 1981, pp. 24-25]

"Light and beauty are absolutely equivalent. Permeated with spiritualism, shot through by cosmological significances linked with the solar disk, animated by the theme of the labyrinth, seen as an initiatory path, (...) his interiors have too great a significance to be considered merely architecture. For the "internal nature" of Richard Meier's museums is true "interiority". (...) Light is therefore the sign of an exclusive art (...) Light is, in these empty limits, the art of replacing the apparition of art. (...) Capable of allowing the visitor the freedom to accept them as erroneous or arbitrary or to redesign them in his imagination as "mathematically" inexorable sequences, Meier's compositions renew (...) their pedagogical vocation, (...) voluntarily taken as far as ontological provocation, metaphysical revelation. [Purini, 1993, in Costanzo, M.,Giorni, V., Tolomeo, M.G. (editor), Richard Meier Frank Stella, pp.26-28]

List of principal works of Richard Meier

1961-62 Lambert House, Fire Island, New York (built)
1961-65 Meier Studios on 53rd Street, New York (built)
1965-67 Smith House, Darien, Connecticut ( built)
1967-70 Westbeth Artists' Housing, New York (built)
1967-70 Saltzman House, East Hampton, New York (built)
1969-72 Twin Parks Northeast Housing, Bronx, New York (built)
1970-77 Bronx Developmental Center, Bronx, New York ( built)
1971-76 Douglas House, Harbor Springs, Michigan (built)
1974 Cornell University Student Residence, Ithaca, New York (built)
1975-79 The Atheneum, New Harmony, Indiana (built)
1978-81 The Hartford Seminary, Hartford, Connecticut (built)
1979-85 Museum of Decorative Arts, Frankfurt (built)
1980-83 The High Museum of Art, Atlanta, Georgia (built)
1984-97 - Getty Center, Los Angeles, California (built)
1986-94 Town Hall and Library, the Hague, Netherlands (built)
1987-93 Museum of Contemporary Art, Barcelona (built)
1989-94 Museum of Ethnology, Frankfurt (built)
1991-94 Swissair North American Offices, New York ( built)
1996 Church for the Great Jubilee of the Year 2000 , Tor Tre Teste, Rome (planned)
1997 Renovation of Piazza Augusto Imperatore, Rome (underway)

Bibliography:
- P. Ciorra, Richard Meier.Architetture, Electa, Milano 1996.
- M.Tafuri, Five Architects N.Y., Officina Ed., Roma 1981.
- R.A.Meier, Richard Meier Architect,vol.1, New York 1984.
- R.A.Meier, Richard Meier Architect,vol.2, New York 1991.
- M.Costanzo,V.Giorgi, M.G.Tolomeo (a cura di), Richard Meier Frank Stella, Electa Roma 1993.
- R.A.Meier, J.Rykwert, K.Frampton, Richard Meier Architect vol.3, New York 1999


Getty Center :: Richard Meier :: Part 2

มอง Getty Center ผ่าน Google Earth

download Google Earth Placemark kmz file
download Google Earth 5.0


ภาพถ่ายทางอากาศ (ผ่านดาวเทียม) ทิศเหนือคือด้านบน
การเข้าสู่ศูนย์แบบผู้เยี่ยมชม เข้าได้ทางที่จอดรถด้านทิศเหนือ แล้วขึ้น tram (รถราง) เลี้ยวลดขึ้นตามเขาเข้าสู่ศูนย์


^ Freeway I-405 ขนาบไปกับที่ตั้งโครงการ

^ ทางตะวันตก ไปถึง ตะวันตกเฉียงใต้ คือมหาสมุทรแปซิฝิก



^ ทิศเหนือ ตะวันออก จรดใต้ คือเมือง สุดลูกหูลูกตา

Getty Center :: Richard Meier :: Part 1

Getty Center :: Richard Meier :: Part 2

Getty Center :: Richard Meier :: Part 3 The Architect

Getty Center :: Richard Meier :: Part 4 Architecture

Getty Center :: Richard Meier :: Part 5 Underconstuction

Getty Center :: Part 6 Landscape

Getty Center :: Richard Meier :: Part 1

Site location & context

View Larger Map

Getter Center ตั้งอยู่ที่ Brentwood, Los Angeles, California, United States บน Santa Monica Mountains เหนือ Interstate I-405 (freeway - ทางหลวงระหว่างรัฐ - ดู google maps) เป็นหนึ่งในสองแห่งของ J. Paul Getty Museum โดย Richard Meier ได้รับเลือกให้เป็นผู้ออกแบบ ในปี 1984, การก่อสร้างเริ่มต้นในเดือนสิงหาคา 1989 สุดท้ายอาคารเปิดใช้งานเมื่อ 16 ธันวาคม 1997 หลังจากเสร็จสมบูรณ์ล่าช้ากว่ากำหนด เกือบ 10 ปี จากกำหนดเดิมปี 1988 เลื่อนเป็น 1995 แต่ในปี 1995 อาคารก่อสร้างเสร็จเพียงครึ่งเดียว

มูลค่าโครงการเพิ่มขึ้นจาก 350 ล้านเหรียญ (x35 = 12,250 ล้านบาท) ในปี 1990 เป็น 1,300 ล้านเหรียญ (45,500 ล้านบาท) ในท้ายสุด งบก่อสร้างบานขนาดนี้ ถ้าเจ้าของโครงการไม่ใช่ Getty Museum ซึ่งมีเงินหนายิ่งกว่าหนาแล้ว โครงการคงยากจะสำเร็จแน่นอน






ภาพถ่ายภายใน Getter Center (ปี ๒๐๐๒)
คลิกเพื่อดูรูปใหญ่
                                     

Getty Center :: Richard Meier :: Part 1

Getty Center :: Richard Meier :: Part 2

Getty Center :: Richard Meier :: Part 3 The Architect

Getty Center :: Richard Meier :: Part 4 Architecture

Getty Center :: Richard Meier :: Part 5 Underconstuction

Getty Center :: Part 6 Landscape