Siam Square One (SQ1)
สยามสแควร์ วัน
Location : Exit BTS Siam station
Website : siamsquareone.com
Design Concept : http://siamsquareone.com/ourProject.php#
Facebook : facebook.com/SIAM.SQUARE.I
Twitter : Siam Square One
Facebook : facebook.com/SIAM.SQUARE.I
Twitter : Siam Square One
มองย้อนกลับไปทางเข้า SQ1 ด้านรถไฟฟ้า |
เดินมาได้สักครึ่งทางจากด้านหน้า ทางลาดมุ่งสู่ระดับถนน ด้านสยามสแควร์ซอย 7 ที่คุ้นเคย บันไดด้านขวา เป็นทางเข้าสู่พื้นที่ค้า (ติดแอร์) ใน Ground floor
ระดับทางลาดโซนนี้ มาครั้งแรกเดินแล้วก็งงๆ ส่วนโซนร้านค้าด้านบนนั้น เส้นทางก็ชัดเจนดี ตามแปลนด้านล่าง
Bollard กั้น Ramp เข้าใจว่าปรับลดระดับได้ เพราะเห็นมีฝาปิด และอันนึงผลุบหายไป |
amphithaeter พร้อมจอ LED ยักษ์ อยู่ฝั่งสยามสแควร์ ซอย 7 เป็น common space ที่สร้างขึ้นมาใหม่ หันเข้าหาจอ |
พื้นที่ด้านหลัง LED Board |
ด้านสยามสแควร์ ซอย 7
ด้านข้างของอาคาร
มีพื้นที่ landscape แยกกระจายเป็นจุดๆทั่วโครงการ
ตอนแรกก็ยังงงงงว่า ทำไมบันไดเลื่อนต้องมีหลังคาคลุม เพราะหลายจุดของโครงการ เปิดหลังคาทะลุ ให้สายฝนโปรยปรายลงมาได้
ตามประสาคนมีลูกแล้วที่มักจะดูเรื่องความปลอดภัยไปด้วย ก็ไม่รู้สิ แต่ผมว่าจุดต่อราวกันตกตรงนี้อันตรายนะ
Siam Square One from street level
Siam Square One (SQ1)
สยามสแควร์ วัน
สยามสแควร์ วัน
การเปลี่ยนไปของบรรยากาศสยามสแควร์ ที่เดิมต่อเนื่องกับระดับถนนมีค่อนข้างสูง วันนี้จึงดูค่อนข้างเงียบเหงา เมื่อรวมตรอก ซอก ซอย ของสยามแสควร์ มารวมไว้เป็น ramp ที่ connect ผู้คนจากสถานีรถไฟฟ้า เข้าสู่ด้านใน
เหมือนๆกับความเปลี่ยนแปลงด้าน Siam Center ที่เดิมมี Common space คือบันไดหน้า ที่ผู้คนได้เอาไว้นั่งรอรถเมล์ หรือพักผ่อน พบปะเพื่อนฝูง เมื่อมี BTS ความจำเป็นในการรอได้หายไป ผู้คนเข้าถึงอาคารจากทางเชื่อมต่ออันหลากหลาย ปฏิสัมพันธ์ของอาคาร ต่อด้านหน้าถนนจึงลดทอนความสำคัญลง Common space ภายนอกที่ผ่อนคลาย สบายๆก็หายไป
แต่ common space คล้ายๆกันนี้ ได้ไปปรากฏอยู่อีกด้านของ SQ1 ในรูปของ amphitheater ที่พร้อมสำหรับการจัดอีเว้นท์ ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป
ทางเข้าด้านถนน มีผู้ค้าในห้างบ่นให้ได้ยินว่าให้ความสำคัญน้อยไปหน่อย
“สถานีถัดไป” ของสยามสแควร์ - ความเป็นมาของสยามสแควร์
No comments:
Post a Comment