October 24, 2019

360 Photos | Starbucks Sukhumvit 93

October 18, 2019

Norman Foster พูดถึง Steve Jobs และการออกแบบโครงการ Apple HQ Campus


วิธีอ่านซับไทย
กดเฟือง (setting) > กดตั้งค่า Subtitle/CC > เลือก Auto Translate > เลือกภาษาไทย Thai

October 5, 2019

ศาลาเฉลิมกรุง (ภายใน)





ส่วนของเวทีการแสดง
ดีเทลฝ้าเพดาน เหนือเวที

Lobby





มุมจากที่นั่งด้านหลังๆ



ดีเทลฝ้าเพดาน




ภาพถ่ายในอดีต

August 21, 2019

ไม้ในงานก่อสร้าง




ไม้เนื้อแข็ง ไม้ชนิดนี้ จะมีวงปีมากกว่าไม้ชนิดอื่น มีระยะเวลาเติบโตช้าและไม้ต้องมีอายุมากถึงจะนำมาใช้งานได้ ไม้ชนิดนี้ส่วนใหญ่จะมีเนื้อไม้ที่มีสีเข้ม เนื้อไม้มีความเหนียวและแข็งแรงมาก จึงมีความทนทานสามารถนำมาใช้กับงานภายนอกที่ต้องตากแดดและโดนฝนได้ดี


ถึงแม้ว่าไม้เนื้อแข็งจะมีข้อดีคือ แข็งแรงและทนทาน แต่ก็มีข้อเสีย คืออาจเกิดการบิดตัวของไม้ เมื่อเวลาเกิดความชื้น ความร้อน หรืออุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลง ทำให้ไม้ หดและขยายตัวได้ ซึ่งไม่เนื้อแข็งทุกชนิดส่วนใหญ่ก็จะเกิดการบิดตัวเล็กๆ น้อยๆ เป็นเรื่องปกติเช่นเดียวกัน



ไม้เต็ง
MOR. = 1,732 กก./ตร.ซม. ไม้เต็งมาเลเซีย 1,571 กก./ตร.ซม.
เป็นไม้เนื้อแข็งที่เหมาะกับการใช้งานโครงสร้างอาคาร ใช้กับงานตรากตรำต้องการความแข็งแรงทนทาน ลักษณะเนื้อไม้เป็นสีน้ำตาลอ่อนจนถึงสีน้ำตาลแก่แกมแดง เนื้อหยาบ แต่สม่ำเสมอ เสี้ยนสับสน แข็ง เหนียว แข็งแรง และทนทานมาก เมื่อผึ่งให้แห้งแล้ว เลื่อยไสตกแต่งได้ยาก ใช้ในการสร้างบ้านเรือนที่ต้องรับน้ำหนักมากๆ  เช่น  ตง  คาน  กระดานพื้น  ไม้โครงหลังคา  และด้ามเครื่องมือกสิกรรม    มีความแข็งแรงกว่าไม้สัก131% (เมื่อเทียบกับไม้สัก = 100 %) ไม่เหมาะนำมาทำปูพื้น  น้ำหนักโดยเฉลี่ยอยู่ที่ ประมาณ 1,040 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

ไม้กันเกรา 
MOR. = 1,445 กก./ตร.ซม.
กันเกราเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ลำต้นสูงเต็มที่ราว 20-30เมตร พบขึ้นอยู่ตามธรรมชาติทุกภาคของประเทศไทยบริเวณที่ลุ่ม ริมน้ำ หรือป่าดิบชื้น..

ไม้รัง
MOR. = 1,352 กก./ตร.ซม.
เป็นต้นไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ลักษณะเนื้อไม้มีสีน้ำตาล อมเหลือง เสี้ยนสับสน เนื้อหยาบ แต่ไม่สม่ำเสมอ แข็ง หนัก แข็งแรง และทนทานมาก เลื่อยไสตกแต่งค่อนข้างยาก เมื่อผึ่งแห้ง จะมีลักษณะคล้ายไม้เต็ง จึงมักเรียกว่าไม้เต็งรัง น้ำหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 800 กก./ลบ.ม. ใช้ทำเสาและโครงสร้างอาคาร ทำหมอนรางรถไฟ และทำเครื่องมือกสิกรรม เป็นต้น

ไม้ประดู่
MOR. = 1,334 กก./ตร.ซม.
มีความแข็งพอ ๆ กับไม้แดงแต่มีความหดตัวน้อยกว่า  สีไม้จะใกล้เคียงกับไม้แดงแต่อาจดูไม่เรียบร้อยเท่า  นิยมนำมาทำเฟอร์นิเจอร์โดยเฉพาะแบบจีน  และใช้ทำเป็นวงกบประตูหรือหน้าต่าง  เพราะจะได้ไม่มีการหดตัวเมื่อมีการใช้งานเปิดปิดอยู่บ่อย ๆ

ไม้แดง
MOR. = 1,305 กก./ตร.ซม.
เป็นไม้ประเภทเนื้อแข็งมีลำต้นขนาดใหญ่ขึ้นอยู่ทั่วไปในป่าเบญจพรรณ  เนื้อไม้มีสีแดงเรื่อๆหรือสีน้ำตาลแกมแดง  เสี้ยนเป็นลูกคลื่น  ละเอียดพอประมาณ   แข็ง    เหนียว 
ประโยชน์  ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน  เช่น  ทำ  เสา  ขื่อ  คาน  ตง  กระดานพื้น  สะพาน  เกวียน  เรือ  หมอนรถไฟ  เครื่องเรือน  เครื่องมือทางกสิกรรม  ด้ามเครื่องมือต่างๆ

ไม้มะค่า
MOR. = 1,221 กก./ตร.ซม. (ไม้มะค่าแต้)  1,229 (มะค่าโมง)
เป็นต้นไม้ใหญ่ มีหน้ากว้าง เป็นไม้เนื้อแข็ง มีลวดลายสวยงาม ลายไม้จะเรียบเนียน มีเส้นเสี้ยนเป็นริ้วสวย ใกล้เคียงกับไม้สัก ลาย เนื้อไม้มีสีน้ำตาลอมส้มและมีสีเหลืองอ่อน  แก่นของไม้มะค่ามีสีน้ำตาลอมแดง   สีน้ำตาลเป็นแนวยาว เนื้อไม้จะหนักและค่อนข้างหยาบ แข็งแรง มีความทนทานมาก ผุพังยาก ทนต่อปลวกมอดและเชื้อราได้ดี  มีราคาค่อนข้างสูง    เป็นไม้ นิยมนำมาทำเป็นไม้พื้น ไม้บันได ไม้บัว เฟอร์นิเจอร์ ตกแต่งทั้งภายในและภายนอก

ไม้ตะแบก
MOR. = 1,219 กก./ตร.ซม. (ตะแบกใหญ่)
นิยมนำมาทำไม้ปูพื้น  มีสีอ่อนสุดเมื่อเทียบกับไม้ชนิดอื่นของไทย  และสีจะไม่เหลืองเท่าตะเคียนหรือเต็ง  เหมาะสำหรับใช้เป็นพื้นภายในตัวบ้านหรืออาคารเท่านั้น

ไม้สัก
MOR. = 1,023-1,045 กก./ตร.ซม. (สักป่า/สักสวน)
เป็นไม้เนื้อแข็งตามมาตรฐานของกรมป่าไม้ คุณสมบัติ ทนต่อกรด ไม่ทำให้เหล็กเป็นสนิม ทนทานต่อลมฟ้าอากาศที่จะทำลายเนื้อไม้มีความแข็งแรงสูง   เป็นไม้ที่มีสีสันและลวดลายธรรมชาติที่งดงาม ปลวกและมอดไม่ทำอันตราย เพราะในเนื้อไม้สักมีสารเคมีพิเศษอยู่ชนิดหนึ่ง ชื่อ O-cresyl methyl ether สารเคมีชนิดนี้ค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ของกรมป่าไม้ มีคุณสมบัติ เมื่อทาหรืออาบไม้แล้วไม้จะมีความคงทนต่อ ปลวก แมลง เห็ดราได้อย่างดียิ่ง จึงเป็นไม้ที่ได้รับความนิยมและราคาสูง


ไม้ตะเคียนทอง
ตะเคียนเป็นไม้เนื้ออ่อน มีสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองเทา และจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอ่อนเมื่อถูกแสงแดด แก่นไม้ตะเคียนมีสีเหลืองอมน้ำตาลจนถึงน้ำตาลอมแดง อาจมีจุดเข้มบนเนื้อไม้ด้วย และจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอมม่วงเมื่อถูกแสงแดด และมียางสีขาวไหลออกมาเป็นระยะ และแห้งในที่สุด ไม้ตะเคียนเป็นไม้ที่แข็งและมีน้ำหนัก ทำให้เลื่อยยากแต่ก็ขึ้นรูปได้ดี นิยมใช้ต่อเรือ ทำเรือแคนู และงานก่อสร้างอื่นๆ ที่ต้องคำนึงถึงความคงทนและความแข็งของไม้เป็นหลัก นอกจากนี้ ไม้ตะเคียนยังใช้ทำรถลาก ไม้ปูพื้น ฝ้าหลังคา รั้วไม้ เครื่องเรือนและอื่นๆ

ไม้เนื้อแข็งปานกลาง

ไม้จำปา 
MOR. = 735 กก./ตร.ซม.
เป็นไม้เนื้อละเอียด เสี้ยนน้อย นิยมใช้ในงานตกแต่ง ไม่บิด ไม่โก่งตัว มีสีอ่อน ย้อมสีได้ง่าย นิยมในการทำบานประตู คิ้ว บัว


July 25, 2019

Dead load ของผนังแต่ละวัสดุ น้ำหนักเหล็กเส้น

Dead load ของผนังแต่ละวัสดุ

1 ผนังอิฐมอญครึ่งแผ่นฉาบปูนเรียบ 180 kg/m2
2 ผนังอิฐมอญเต็มแผ่นฉาบปูนเรียบ 360 kg/m2
3 คอนกรีตบล๊อก หนา 7 ซม. 120 kg/m2
4 คอนกรีตบล๊อก หนา 9 ซม. 160 kg/m2
5 ฝาไม้อัดรวมเคร่า(12-30) 20 kg/m2
6 ฝาเซลโลกรีต รวมเคร่า 30 kg/m2
7 ดินซีเมนต์ขนาดเท่าอิฐบล๊อก 170 kg/m2
8 ผนังอิฐ บปก ครึ่งแผ่น 220 kg/m2
9 ผนังอิฐ บปก เต็มแผ่น 440 kg/m2
10 อิฐมวลเบา ไม่รวมฉาบ 20x60x7.5 cm 5.58 kg./ก้อน หรือ 58.5 kg./m2 รวมฉาบ 2 ด้าน 90 kg./m2
11 อิฐมวลเบา ไม่รวมฉาบ 20x60x10 cm 7.44 kg./ก้อน หรือ 65 kg./m2




ชนิดของวัสดุ
น้ำหนักบรรทุก
Dead Load
หน่วย

1
คอนกรีตล้วน
2,300
กก./ลบ.ม.

2
คอนกรีตเสริมเหล็ก
2,400
กก./ลบ.ม.

3
เหล็ก
7,850
กก./ลบ.ม.

4
ไม้
500
กก./ลบ.ม.

5
อิฐ
1,900
กก./ลบ.ม.

6
โครงหลังคา
43,768
กก./ตร.ม.

7
กระเบื้องซีเมนต์ใยหินลอนคู่
14
กก./ตร.ม.

8
กระเบื้องคอนกรีต
50
กก./ตร.ม.

9
เหล็กรีดลอน
14
กก./ตร.ม.

10
สังกะสี
5
กก./ตร.ม.

11
ฝ้าเพดาน
14-26
กก./ตร.ม.

12
ผนังก่ออิฐมอญ (ครึ่งแผ่น/เต็มแผ่น)
180-360
กก./ตร.ม.

13
14
15
16
ผนังก่ออิฐบล๊อค (ครึ่งแผ่น/เต็มแผ่น)
กระจก
กระเบื้องปูพื้น รวมปูนทรายหนา 5 ซม
ผนังก่ออิฐมวลเบา หนา 7.5 ซม ฉาบ 2 ด้าน
100-200
3,000
150
90
กก./ตร.ม.
กก./ลบ.ม.
กก./ตร.ม.
กก./ตร.ม.
เหล็กเส้น



RB SR-24
RB 6
0.222
กก./ม.


RB 9
0.499
กก./ม.


RB12
0.888
กก./ม.


RB15
1.387
กก./ม.


RB19
2.226
กก./ม.


RB25
3.853
กก./ม.






DB SD-30
DB10
0.617
กก./ม.


DB12
0.888
กก./ม.


DB16
1.578
กก./ม.


DB20
2.466
กก./ม.


DB25
3.853
กก./ม.


DB28
4.834
กก./ม.


DB32
6.313
กก./ม.






DB SD-40
DB10
0.617
กก./ม.


DB12
0.888
กก./ม.


DB16
1.578
กก./ม.


DB20
2.466
กก./ม.


DB25
3.853
กก./ม.


DB28
4.834
กก./ม.


DB32
6.313
กก./ม.

July 9, 2019

การทำสีไม้ธรรมชาติ ภายนอก

1 ผสม แชลแลค กับดินสอพองและสีฝุ่นสีดำ แดง เหลือง ตามสีไม้ โป๊ว แห้ง ขัด
2 ลงสีวูดสเตน สีเงาใส แห้งแล้วขัด
3 ลงสี Wood stain ด้านใส รอบแรก แห้งแล้วขัดลูบ
4 ลงสี Wood stain ด้านใส  รอบที่ 2
ใช้สี Beyer Wood Stain

May 9, 2019

บันไดหนีไฟอาคาร

https://www.scgbuildingmaterials.com/th/HomeConsult/Blog/new-home/%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99-%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3.aspx